Liver Cancer
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งตับ
การติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี หรือ ไวรัสตับอักเสบซีเรื้อรัง ซึ่งเป็นสาเหตุสำคัญต่อการเกิดมะเร็งตับ ตับแข็ง ที่พบบ่อย คือ พฤติกรรมการดื่มแอลกอฮอล์ และยังมีอีกกลุ่มที่เชื่อมโยงการเป็นมะเร็งตับสูง คือไขมันพอกตับ ผู้ป่วยเบาหวานเรื้องรัง ผู้ป่วยโรคอ้วน พยาธิใบไม้ในตับกลุ่มคนเหล่านี้มีความเสี่ยงสูงต่อการเกิด มะเร็ง และ มะเร็งตับ
มะเร็ง"มะเร็งตับ"แบ่งเป็น 2 ชนิดใหญ่ๆ คือ
ชนิดที่ 1 : มะเร็งของเซลล์ตับ และ มะเร็งท่อน้ำดี ถือเป็นมะเร็งต้นกำเนิดจากตับ และ ถุงน้ำดี
ชนิดที่ 2 : เป็นมะเร็งที่ที่แพร่กระจายมาจากตำแหน่งอื่นๆ ของร่างกาย โดยมากจะมาจากอวัยวะภายในช่องท้อง เช่น ลำไส้ใหญ่
มะเร็งตับ เป็นโรคที่มีความสำคัญ และพบบ่อย เป็นมะเร็งที่มีสถิติการเสียชีวิตสูงมากเป็นอันดับต้นๆ ของผู้ป่วยมะเร็ง
7สัญญานอันตราย ภัยร้าย มะเร็งตับ
- เบื่ออาหาร น้ำหนักลดโดยไม่ทราบสาเหตุ
- ง่วงนอน อ่อนเเพลียมีใข้ต่ำๆตลอด
- คลื่นไส้ อาเจียน
- แน่นท้อง ท้องผูก ท้องบวมโต
- ขาบวม ตัวเหลือง ตาเหลือง
- ปวด เสียดชายโครงขวา คลำพบก้อนที่ตับ
- คลำพบก้อนได้ที่ชายโครงซ้ายจากอาการม้ามโต หากมีอาการดังกล่าวควรตรวจเช็คให้ละเอียดโดยด่วน เพื่อจะได้รับการรักษา มะเร็งตับได้ทัน
อาการของ"มะเร็ง"มะเร็งตับ จะแบ่งเป็น 4 ระยะ
มะเร็งตับระยะที่ 1 และ ระยะที่ 2 ก้อนมะเร็งมีขนาดเล็ก ไม่เกิน 1-2 เซน ส่วนใหญ่แล้วมักจะไม่แสดงอาการใดๆ หรือแสดงอาการเพียงเล็กน้อย เช่น ปวดท้องบ่อย ท้องอืดบ่อย ทำให้ผู้ป่วยสับสนคิดว่าเป็นเพียงโรคกระเพาะอาหารจึงปล่อยไว้จนเรื้องจึงลุกลาม
มะเร็งตับระยะที่ 3 และ ระยะที่ 4 ก้อนมะเร็งเริ่มมีขนาดโต เเละมีหลายก้อนเริ่มเเพร่กระจายแล้ว ส่งผลให้ตับมีปัญหา แสดงอาการชัดเจนขึ้นเช่น อาการตัวเหลือง ตาเหลือง มีภาวะท้องมานน้ำ เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน
การตรวจวินิจฉัย มะเร็ง มะเร็งตับ
ดังกล่าวไว้แล้วข้างต้นว่า ผู้ป่วย"มะเร็ง'มะเร็งตับมักมาพบแพทย์ เมื่ออยู่ในระยะท้ายของโรค เนื่องจากมะเร็งตับระยะที่1 และ2 จะไม่แสดงอาการ หรือ แสดงอาการเพียงเล็กน้อย ซึ่งการตรวจพบ มะเร็ง มะเร็งตับในระยะเริ่มต้นจะช่วยให้ผู้ป่วยได้รับการรักษาที่เหมาะสม และมีโอกาสหายขาด ดังนั้นการตรวจคัดกรองเพื่อเฝ้าระวังในผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง จึงมีประโยชน์อย่างยิ่ง
-วิธีการตรวจเพื่อเฝ้าระวังหรือวินิจฉัยโรคมะเร็ง"มะเร็งตับ ได้แก่
-การตรวจอัลตราซาวด์ของช่องท้องส่วนบน
-การเอกซเรย์คอมพิวเตอร์
-การตรวจคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
-การเจาะเลือดตรวจวัดระดับ
ซึ่งการวินิจฉัย ตรวจหามะเร็งตับไม่สามารถใช้การตรวจระดับAFP เพียงอย่างเดียวได้ เนื่องจากการตรวจพบระดับAFP เป็นการตรวจเลือดเพื่อหาสารบ่งชี้ของ มะเร็ง ตับ เป็นสารโปรตีนชนิดหนึ่งที่มีในเลือดที่สูงผิดปกติอาจเป็น มะเร็งตับ ได้ แต่ก็ยังสามารถเกิดจากหลายปัจจัยที่เกี่ยวกับตับได้เช่นกัน ดังนั้นจึงต้องใช้การตรวจอย่างละเอียดอีกหลายขั้นตอน
การรักษา"มะเร็งตับ"
การรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับสามารถทำได้หลายวิธี ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ขนาดของก้อนมะเร็ง ระยะของโรคมะเร็ง สภาพของตับแข็ง และสุขภาพของผู้ป่วย
การรักษามะเร็งตับสามารถรักษาโดย
การผ่าตัดเอาก้อนมะเร็งตับออก (Hepatic resection)
การผ่าตัดเปลี่ยนตับ(Liver transplantation)
Transarterial Chemoembolization:TACE คือ การฉีดยาเคมีบำบัดร่วมกับสารlipiodolผ่านเส้นเลือดแดงแขนงที่เลี้ยงก้อนมะเร็ง
มะเร็งตับหากเป็นแล้ว รักษาได้ และมีโอกาสหายขาด เพียงแต่ว่าต้องมีการค้นหา มะเร็งตับ มะเร็งตั้งแต่ระยะเริ่มต้น และมีการตรวจอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยงและอายุ 40-45 ปีขึ้นไป หรือผู้ที่มีไวรัสตับอักเสบบี หรือซีในร่างกาย ควรตรวจคัดกรองเฝ้าระวังมะเร็งตับทุก 6-12เดือน
มะเร็ง"มะเร็งตับ"มีปัจจัยเสี่ยงหลายประการ
ดังนั้นการป้องกันมะเร็ง"มะเร็งตับ จึงสามารถทำได้ด้วยการดูแลตนเอง และการปรับเปลี่ยน
พฤติกรรมต่อไปนี้
1 งดสุราและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เพราะเสี่ยงต่อการเป็นโรคตับแข็งที่อาจนำไปสู่การเป็นมะเร็งตับ
2. เลี่ยงของหมัก ของดอง เพราะสารที่เกิดจากของหมักดองมีส่วนทำให้เกิดมะเร็งตับที่ได้
3. เลี่ยงการทานยามากเกินไป เพราะยาเกือบทุกชนิดส่งผลต่อตับ ควรอยู่ภายใต้คำแนะนำของแพทย์เท่านั้น
4. เลี่ยงอาหารที่ปนเปื้อนสารแอฟลาทอกซิน (Aflatoxin) ก่อมะเร็งตับ ได้แก่ ถั่วลิสง พริกแห้ง พริกป่น ข้าว
5. เลี่ยงอาหารที่มีไขมันทรานส์ อย่างเบเกอรี่ พาย คุกกี้ แยมโรล เค้กเนยสด ครีมเทียม ฯลฯ เพราะอาหารไขมันสูงส่งผลให้ตับทำงานหนักในการสร้างน้ำดีมาย่อยอาหาร
6. ทานวิตามินรวมเสริมเพื่อช่วยบำรุงตับ แต่ควรเลือกผู้ผลิตที่น่าเชื่อถือ หรือศึกษาข้อมูลอย่างละเอียด
7. ควบคุมน้ำหนัก ไม่ให้เสี่ยงกับโรคเบาหวาน ไขมัน และโรคอ้วน เพราะเป็นต้นเหตุสำคัญของโรคมะเร็งตับ
8. ตรวจเลือดเพื่อดูว่ามีไวรัสตับอักเสบบีหรือซี หากไม่มีเชื้อสามารถให้วัคซีนได้ หากมีเชื้อก็ควรให้แพทย์ดูแลรักษาอย่างสม่ำเสมอ
นอกจากนี้ควรออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอ พักผ่อนให้เพียงพอ และตรวจเช็กสุขภาพเป็นประจำ รวมทั้งหมั่นสังเกตความผิดปกติในร่างกาย เพื่อจะได้รับมือกับมะเร็งได้อย่างทันท่วงที
ข่าวค้น สารเซซามิน(sesamin)ในงาดำยับยั้งเซลล์มะเร็ง
ข่าวการค้นพบสารเซซามิน(sesamin)จากงาดำเพื่อรักษาผู้ป่วยมะเร็งตับ เป็นอาหารเสริมต้านมะเร็งตับ และมะเร็งอื่นๆ เป็นผลงานวิจัยของ ม.เชียงใหม่ การค้นพบในครั้งนี้ถือได้ว่าเป็นประโยชน์อย่างมาก ถือว่าเป็นการพัฒนาไปอีกก้าวของวงการแพทย์ไทย และที่สำคัญ นี่เป็นครั้งแรกของโลก ที่พบว่าสารเซซามิน (Sesamin)ยับยั้งมะเร็งตับ และเป็นอาหารเสริมต้านมะเร็งตับ ที่พบนั้นจะไปยั้บยั้งการฟื้นฟูเซลล์จากการถูกทำลาย หรือพูดง่ายๆ ว่า จะใช้ในการยับยั้งมะเร็งตับ เเละมะเร็งทั่วไปได้ จากการตัดท่อน้ำเลี้ยง ของเซลล์มะเร็งด้วยการหยุดการสร้างหลอดเลือดใหม่ของก้อนมะเร็ง ทำให้ก้อนมะเร็งฝ่อ ลง เซลล์มะเร็งตับจะลดจำนวนลงตามลำดับ และเป็นอาหารเสริมต้านมะเร็งตับ
สารสกัด...เซซามิน(sesamin)จากงาดำ เข้าไปทำอะไรกับ เซลล์มะเร็งตับ และ มะเร็งทั่วไป
คลิ๊ก.....ชมคลิปนี้ !!!
สุดยอดงานวิจัยไทย..ค้นพบ 4 คุณสมบัติสำคัญของ เซซามิน (sesamin)สารสกัดจากงาดำ..ช่วยดูแลและยับยั้งเซลล์มะเร็งตับ
ศ.ดร.ปรัชญา คงทวีเลิศ นักวิจัย ม.เชียงใหม่ ค้นพบ "สารสกัดเซซามิน (Sesamin)" จากงาดำ....ทำลายเซลล์มะเร็ง"มะเร็งตับ
-สารเซซามิน (Sesamin) ช่วยต่อต้านอนุมูลอิสระ
-สารเซซามิน (Sesamin) ช่วยยั้บยั้งการอักเสบ
-สารเซซามิน (Sesamin) ช่วยลดทั้งการสังเคราะห์และลดการดูดซึมสารโคเรสเตอรอล
-สารเซซามิน (Sesamin) ทำให้มะเร็งบางชนิดเข้าสู่ขบวนการทางชีวเคมีที่ทำให้เซลล์ตาย
-สารเซซามิน (Sesamin) ช่วยยั้บยั้งการลุกลามของมะเร็งบางชนิดได้
-สารเซซามิน (Sesamin) กระตุ้นให้ร่างกายสร้างสาร IL2 และ IFN-Gramma จากเม็ดเลือดขาว
-สารเซามิน (Sesamin) ช่วยดูแลเกี่ยวกับระดับน้ำตาลในเลือด
-สารเซซามิน (Sesamin) ทำหน้าที่ช่วยเผาผลาญกรดไขมัน
-สารเซซามิน (Sesamin) ช่วยทำให้ วิตตามิน E ทำงานได้มีประสิทธิภาพ มากยิ่งขึ้น
-สารเซซามิน (Sesamin) ช่วยขจัดสารพิษออกจากร่างกาย
-สารเซซามิน (Sesamin) ช่วยลดอาการปวด และอักเสบบริเวณต่างๆ ของร่างกาย
-สารเซซามิน (Sesamin) ลดการเสื่อมสลายของข้อกระดูก และกระดูกอ่อน
นอกจากนี้ยังมีงานวิจัย ที่ได้ทำการศึกษาที่หน่วยวิจัยมที่มีความเป็นเลิศทางด้านวิศวกรรม
เนื้อเยื่อและเซลล์ต้นกำเนิด
สารสกัดเซซามิน SESAMIN เหมาะกับใครบ้าง?
-ผู้ที่ต้องการลดผลข้างเคียงในระหว่างการให้คีโม หรือ ฉายแสง ทำให้เกิดอาการแพ้น้อยลง
-ผู้ที่ต้องการเพิ่มภูมิคุ้มกันของตัวเองให้เพิ่มมากขึ้น เพื่อช่วยให้ร่างกายตอบรับการรักษามะเร็ง
-ผู้ที่ไม่สามารถใช้ คีโม หรือ ฉายแสง ในการรักษามะเร็งด้วยตัวเองได้
-ผู้ที่ต้องการกระตุ้นภูมิคุ้มกัน เพื่อให้ร่างกายสามารถกำจัดเนื้อร้าย ในการรักษามะเร็งอย่างมีประสิทธิภาพ และไม่มีผลข้างเคียงในการรักษามะเร็ง
-ผู้ที่คิดว่าตัวเองมีความเสี่ยงที่จะเป็นเนื้อร้าย หรือ มะเร็ง เนื้องอก ซีส
-ผู้ที่มีคนในครอบครัวเป็นมะเร็งตับ และ มีความเสี่ยงที่จะเป็นมะเร็ง
-ผู้ที่มีปัญหาเม็ดเลือดขาวตก ไม่สามารถให้คีโมได้
มะเร็ง..มะเร็งตับ..มะเร็งทุกระยะมีพิษร้ายแรง
อย่ารอให้ถึงระยะสุดท้ายแล้วค่อยรักษา
ตัดสินใจช้าอาจจะเป็นการตัดสินใจครั้งสุดท้ายของคุณ
แต่มีโอกาสรอด....ถ้าคุณรีบตัดสินใจ....